ซึ่งคุณจะสามารถมองเห็นดาวได้ในช่วงที่อาทิตย์สาดแสงมาถึงสิ่งเดียวกันนี้เกิดขึ้นในอวกาศที่เต็มไปด้วยก๊าสมากมาย ทำไมอวกาศถึงได้มืดลง หลายชนิดแต่มันไม่ใรชั้นบรรยากาศที่มีโมเลกุลในการสท้อนแสงหรืออวกาศนั้นว่างเปล่ามันเลยเป็นเหตุผลว่าแม้ดวงอาทิตย์จะส่องแสงไปยังอวกาศก็ยังมืด

เพราะฉะนั้นแล้วหากชั้นบรรยากาศของโลกนั้นมันได้หายไปมันก็จะมีความืดเหมือนกับในอวกาศหรือว่าบนดวงจันทร์เท่านั้นเองเอาเป็นว่าเข้าใจกันแล้วใช่ไหมแต่ว่าดาวอาทิตย์ไม่ใช่ดาวฤกษ์หรือแหล่งกำเนิดของแสงดวงเดียวในจักรวารแห่งนี้แล้วทำไมดาวฤกษ์ดวงอื่นไม่ส่องแสงจ้าในเวลากลางคืน

เนื่องจากนี้พวกคุณไม่ใช่คนแรกที่ได้มีความสงสัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ นักดาราศาสตร์ที่มีชื่อว่า โทมัส ดิกส์  ได้ค้นพบคำถามนี้ในศตวรรษที่16เขามั่นในว่าในจักรวารมันไม่มีจุดสิ้นสุดและดวงดาวมันก็มีเยอะมากจนไม่สามารถที่จะนับได้เขาก็ได้นั่งอยู่ในห้องทำงานเพื่อที่จะหาคำตอบว่าทำไมแสงของดวงดาวจำนวนนับไม่ถ้วนเหล่านี้ไม่ทำให้เราตาบอดแต่เขาล้มเหลว

นอกจากนี้คำถามนี้มันเร็วเกินไปที่จะคิดหาคำตอบในยุคของเขาและก็ไม่ได้มีเครื่องมือในการค้นหาคำตอบอีกด้วยและในช่วงต้นศตวรรษที่19นักดาราศาสตร์ ชาวเยอรมัน วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส ก็ได้เสนอว่าเหตุผลที่ทำไมท้องฟ้าเป็นสีดำในตอนกลางต้นเหตุเกิดมาจากม่านฝุ่นบนบังดาวฤกษ์จากการมองเห็นของเรา(ผิด)

โดยดาวฤกษ์นั้นไม่เพียงแต่ปล่อยแสงสว่างออกมาแต่ยังมีพลังงานมหาศาลที่สามารถทำให้อนุภาพของฝุ่นละอองร้อนขึ้นจนเปงแสงในตัวของมันเองในกรณ๊นี้ท้องฟ้าในตอนกลางคืนก็จะยังคงสว่างเพราะฝุ่นละอองที่มันได้ส่องสว่างแต่ถึงเป็นอย่างนั้นท้องฟ้าก็ยังมืดในช่วงเย้นหลังพระอาทิตย์ตกอยู่ดีมีอะไรผิดกับทฤษฎีนี้หรือเปล่า

นอกจากนี้ดิกส์โอลเบอร์สและนักดาราศาสตร์คนอื่นๆในอดีตเชื่อว่าในจักรวารไม่มีที่สิ้นสุดแต่นักดาราศาสตร์สมัยใหม่ได้รู้อะไรมากกว่านั้นถึงแม้จำนนวนของดาวฤกษ์จะดูเยอะจนประเมิลการไม่ได้ก็ยังมีไม่พอที่จส่องสว่างในเวลากลางคืนเพราะมันเหมือนกับจักรวารที่ไม่ได้คงอยู่ตลอดไป

เพราะฉะนั้นแล้วพวกมันเองก็ได้มีจุดที่สิ้นสุดจักรวารมันมีขอบเขตเป็นของตัวเองและไม่ได้เก่าแก่มากเหมือนกับที่นักวิทยาศาสตร์เคยเชื่อแน่นอนแล้วว่าแค่14,000ล้านปีดูจะมากกับมนุษย์อย่างเราๆแต่มันก็ยังใหม่ในแง่ของจักรวารอย่างน่าประหลาดใจและมันก็ไม่ได้มีเยอะจนทำให้ทุกแสงจากดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างไกลที่สุดสามารถเดินทางมาถึงโลกได้

 

สนับสนุนโดย.  Gclub ฟรี 500

Comments are closed.