อย่างที่เรารู้กันดีว่าระบบสุริยะนั้นมีขนาดที่ใหญ่มากๆและเราไม่สามารถที่จะรู้ได้เลยว่าขอบเขตของระบบสุริยะนั้นอยู่ตรงบริเวณจุดไหนซึ่งเป็นขอบเขตที่นักวิทยาศาสตร์เองก็เคยไปสำรวจมาแล้วแต่ก็ไม่สามารถระบุขอบเขตที่ชัดเจนได้ดังนั้นเราจึงวัดระยะทางด้วยหน่วยวัดทั่วไปจากกิโลเมตรภายในระบบสุริยะไม่ได้นั่นเอง

       ยังไงก็ตามถึงแม้ว่าเราจะไม่สามารถวัดระยะทางของในระบบสุริยะได้ว่ามีขอบเขตถึงจากจุดไหนไปยังจุดไหนแต่ในทางดาราศาสตร์นั้นก็มีการตั้งหน่วยวัดระบบสุริยะเป็น AU ซึ่ง 1 AU   นั้นเทียบเท่ากับระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์นั่นเอง 

    สำหรับโครงสร้างในระบบสุริยะนั้นจะประกอบไปด้วยระบบสุริยะชั้นในซึ่งในส่วนนี้จะมีดาวเคราะห์ทั้งหมด 4 ดวงด้วยกันซึ่งดาวเคราะห์ทั้ง 4 ดวงนี้จะโคจรอยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากที่สุดและเป็นดาวเคราะห์ที่เราเคยได้ยินและคุ้นหูเนื่องจากว่าดาวเคราะห์ทั้ง 4 ดวงนั้นก็ได้แก่ดาวพุธรวมถึงดาวศุกร์และโลกและดาวอังคารนั่นเอง   

  อย่างไรก็ตามจากดาวอังคารมาก็จะมีแถบของดาวเคราะห์น้อยซึ่งบริเวณนี้จะกินพื้นที่ออกไปจนเกือบถึงวงโคจรของดาวพฤหัสบดีเลยทีเดียวซึ่งเราสามารถสังเกตเห็นได้โดยวงโคจรนั้นจะเป็นสีส้มและระยะทางภายในระบบสุริยะชั้นในนี้จะมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 5 AU

       โครงสร้างของระบบสุริยะ จากระบบสุริยะชั้นในก็กลายมาเป็นสุริยะชั้นนอกซึ่งจะเริ่มต้นของจุฬาชั้นนอกนั้นเริ่มจากวงโคจรของดาวพฤหัสบดีด้วยค่ะต่อไปมันก็จะเป็นดาวเสาร์และดาวยูเรนัส

รวมถึงดาวเนปจูนซึ่งระยะห่างนี้จะมีการวัดจากดวงอาทิตย์ได้ประมาณ 30 ถึง 50AU  ยังไงก็ตามต้องเดินระบบสุริยะชั้นนอกนี้จะมีแถบไคเปอร์ซึ่งโปรนี้มีวัตถุขนาดใหญ่อยู่ 2 ก้อนด้วยกันโดยเราเรียกว่าถูก 2 ก้อนนี้ว่าดาวพลูโตและดาวเอริสนั่นเอง 

        จากโครงสร้างของระบบสุริยะจะเห็นได้ว่าขับออกมาจากดาวพลูโตแล้วก็จะมีวัตถุหนึ่งที่อยู่ไกลออกมาจากระบบสุริยะซึ่งทางนักดาราศาสตร์ได้มีการเรียกว่า เซดนา โดยตำแหน่งดังกล่าวนั้น จะอยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มากโดยคำนวณเกี่ยวกับระยะทางว่าไกลถึง 937AU เลยทีเดียว 

อย่างไรก็ตามมีการค้นพบว่าเซดนานี้ มีวงโคจรที่ค่อนข้างยาวเป็นพิเศษซึ่งต้องใช้ระยะเวลาถึง 11400 ปีจึงจะสามารถเดินทางได้ครบ 1 รอบวงโคจร  ดังนั้นถ้าหากเราอยู่บริเวณ เซดนา เราจะไม่สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์เลยเพราะว่ามีขนาดเล็กมากเท่ากับรูเข็มเท่านั้นเอง 

          และจุดที่ใกล้ที่สุดของโครงสร้างในระบบสุริยะนั่นก็คือกลุ่มเมฆออร์ต  ซึ่งจะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 1 แสนAU เบอร์กลุ่มเมฆออร์ตนี้เกิดจากการรวมตัวของก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่แต่เนื่องจากว่าอยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มากดังนั้นจึงไม่มีโอกาสที่มืดอ๊อดนี้จะถูกแรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์ดูดเข้าไปใกล้ได้เลย 

 

สนับสนุนเนื้อหาโดย    ufabet

Comments are closed.